Menu Close

สาเหตุของ กระดูกเสื่อม ที่คุณควรรู้

สาเหตุของโรค กระดูกเสื่อม ที่คุณควรรู้

1. โรคกระดูกเสื่อม โดยไม่มีสาเหตุ


กระดูกเสื่อมโดยไม่มีสาเหตุนั้น ส่วนใหญ่จะพบบ่อยที่ข้อนิ้ว หรือข้อปลายนิ้ว ในผู้หญิงชาวเอเชียโดยข้อจะมีลักษณะเป็นปมๆ ส่วนผู้หญิงชาวยุโรปจะพบกระดูกเสื่อมบ่อยที่ข้อสะโพก

 

2. โรคกระดูกเสื่อม จากการเกิดอุบัติเหตุ

 

เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุอย่างแรงโดยตรงต่อกระดูก เช่น การเกิดอุบัติเหตุจากการจราจร หรือจากการทำงานหนัก เช่น กระดูกข้อสันหลังเสื่อมจากการก้มๆ เงยๆ ทำงานอย่างต่อเนื่อง การยกของหนัก หรือถือของหนักๆ เป็นเวลานานหรือเกิดจากการเล่นกีฬา เช่น เอ็นเข่าขาด ลักษณะนี้จะทำให้เข่าไม่มีสมดุล เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่ง อาจทำให้กระดูกสีกันง่ายขึ้นและเกิดเป็นกระดูกเข่าเสื่อมในที่สุด

 

3. โรคกระดูกเสื่อม จากการเจ็บป่วยการติดเชื้อ


กลุ่มนี้ เกิดได้จากการติดเชื้อที่กระดูก เช่น วัณโรคกระดูก หรือติดเชื้อแบคทีเรียที่ทำลายกระดูกหรือกล้ามเนื้อ รวมถึงมะเร็ง และโรคที่เกิดการการทำลายการสร้างกระดูก

นอกจากนี้ สำหรับคนที่ป่วยเป็นโรคเลือดอย่าง โรคฮีโมฟีเลีย
ที่มีภาวะแทรกซ้อนง่าย มีเลือดออกตามข้อก็อาจทำให้อาการเสื่อมของกระดูกเกิดได้ง่ายขึ้น

 

4. การขาดสารอาหาร 

 

ที่จำเป็นต่อการสร้างและบำรุงกระดูกทำให้มีการสร้างเซลล์กระดูกลดลง แต่ทำลายเซลล์กระดูกมากขึ้นซึ่งสารอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างกระดูก เช่น แคลเซียม

 

ประโยชน์ของแคลเซียม

1. ช่วยให้กระดูกและฟันมีสุขภาพแข็งแรง
2. ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกเสื่อมและกระดูกหัก
3. ช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ใหญ่
4. ช่วยบรรเทาอาการนอนไม่หลับ
5. มีส่วนช่วยให้จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติ
6. ช่วยในการควบคุมน้ำหนัก
7. ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกอ่อนในเด็ก
8 .ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกน่วม
9. ช่วยป้องกันภาวะกระดูกพรุน และกระดูกเสื่อม
10. ช่วยป้องกันอาการกระดูกหักง่ายในวัยสูงอายุ

 
ขอขอบคุณ ข้อมูลจาก
โรงพยาบาลกรุงเทพคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

 

สาเหตุของโรค กระดูกเสื่อม ที่คุณควรรู้

1. โรคกระดูกเสื่อม โดยไม่มีสาเหตุ
กระดูกเสื่อมโดยไม่มีสาเหตุนั้น ส่วนใหญ่จะพบบ่อยที่ข้อนิ้ว หรือข้อปลายนิ้ว ในผู้หญิงชาวเอเชียโดยข้อจะมีลักษณะเป็นปมๆ ส่วนผู้หญิงชาวยุโรปจะพบกระดูกเสื่อมบ่อยที่ข้อสะโพก
 
2. โรคกระดูกเสื่อม จากการเกิดอุบัติเหตุ
 
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุอย่างแรงโดยตรงต่อกระดูก เช่น การเกิดอุบัติเหตุจากการจราจร หรือจากการทำงานหนัก เช่น กระดูกข้อสันหลังเสื่อมจากการก้มๆ เงยๆ ทำงานอย่างต่อเนื่อง การยกของหนัก หรือถือของหนักๆ เป็นเวลานานหรือเกิดจากการเล่นกีฬา เช่น เอ็นเข่าขาด ลักษณะนี้จะทำให้เข่าไม่มีสมดุล เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่ง อาจทำให้กระดูกสีกันง่ายขึ้นและเกิดเป็นกระดูกเข่าเสื่อมในที่สุด
 
3. โรคกระดูกเสื่อม จากการเจ็บป่วยการติดเชื้อ
กลุ่มนี้ เกิดได้จากการติดเชื้อที่กระดูก เช่น วัณโรคกระดูก หรือติดเชื้อแบคทีเรียที่ทำลายกระดูกหรือกล้ามเนื้อ รวมถึงมะเร็ง และโรคที่เกิดการการทำลายการสร้างกระดูก
นอกจากนี้ สำหรับคนที่ป่วยเป็นโรคเลือดอย่าง โรคฮีโมฟีเลีย
ที่มีภาวะแทรกซ้อนง่าย มีเลือดออกตามข้อก็อาจทำให้อาการเสื่อมของกระดูกเกิดได้ง่ายขึ้น
 
4. การขาดสารอาหาร 
 
ที่จำเป็นต่อการสร้างและบำรุงกระดูกทำให้มีการสร้างเซลล์กระดูกลดลง แต่ทำลายเซลล์กระดูกมากขึ้นซึ่งสารอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างกระดูก เช่น แคลเซียม
 
ประโยชน์ของแคลเซียม
1. ช่วยให้กระดูกและฟันมีสุขภาพแข็งแรง
2. ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกเสื่อมและกระดูกหัก
3. ช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ใหญ่
4. ช่วยบรรเทาอาการนอนไม่หลับ
5. มีส่วนช่วยให้จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติ
6. ช่วยในการควบคุมน้ำหนัก
7. ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกอ่อนในเด็ก
8 .ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกน่วม
9. ช่วยป้องกันภาวะกระดูกพรุน และกระดูกเสื่อม
10. ช่วยป้องกันอาการกระดูกหักง่ายในวัยสูงอายุ
 
ขอขอบคุณ ข้อมูลจาก
โรงพยาบาลกรุงเทพคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 

สาเหตุของโรค กระดูกเสื่อม ที่คุณควรรู้

1. โรคกระดูกเสื่อม โดยไม่มีสาเหตุ
กระดูกเสื่อมโดยไม่มีสาเหตุนั้น ส่วนใหญ่จะพบบ่อยที่ข้อนิ้ว หรือข้อปลายนิ้ว ในผู้หญิงชาวเอเชียโดยข้อจะมีลักษณะเป็นปมๆ ส่วนผู้หญิงชาวยุโรปจะพบกระดูกเสื่อมบ่อยที่ข้อสะโพก
 
2. โรคกระดูกเสื่อม จากการเกิดอุบัติเหตุ
 
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุอย่างแรงโดยตรงต่อกระดูก เช่น การเกิดอุบัติเหตุจากการจราจร หรือจากการทำงานหนัก เช่น กระดูกข้อสันหลังเสื่อมจากการก้มๆ เงยๆ ทำงานอย่างต่อเนื่อง การยกของหนัก หรือถือของหนักๆ เป็นเวลานานหรือเกิดจากการเล่นกีฬา เช่น เอ็นเข่าขาด ลักษณะนี้จะทำให้เข่าไม่มีสมดุล เมื่อเวลาผ่านไปสักระยะหนึ่ง อาจทำให้กระดูกสีกันง่ายขึ้นและเกิดเป็นกระดูกเข่าเสื่อมในที่สุด
 
3. โรคกระดูกเสื่อม จากการเจ็บป่วยการติดเชื้อ
กลุ่มนี้ เกิดได้จากการติดเชื้อที่กระดูก เช่น วัณโรคกระดูก หรือติดเชื้อแบคทีเรียที่ทำลายกระดูกหรือกล้ามเนื้อ รวมถึงมะเร็ง และโรคที่เกิดการการทำลายการสร้างกระดูก
นอกจากนี้ สำหรับคนที่ป่วยเป็นโรคเลือดอย่าง โรคฮีโมฟีเลีย
ที่มีภาวะแทรกซ้อนง่าย มีเลือดออกตามข้อก็อาจทำให้อาการเสื่อมของกระดูกเกิดได้ง่ายขึ้น
 
4. การขาดสารอาหาร 
 
ที่จำเป็นต่อการสร้างและบำรุงกระดูกทำให้มีการสร้างเซลล์กระดูกลดลง แต่ทำลายเซลล์กระดูกมากขึ้นซึ่งสารอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างกระดูก เช่น แคลเซียม
 
ประโยชน์ของแคลเซียม
1. ช่วยให้กระดูกและฟันมีสุขภาพแข็งแรง
2. ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระดูกเสื่อมและกระดูกหัก
3. ช่วยลดความเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ใหญ่
4. ช่วยบรรเทาอาการนอนไม่หลับ
5. มีส่วนช่วยให้จังหวะการเต้นของหัวใจเป็นปกติ
6. ช่วยในการควบคุมน้ำหนัก
7. ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกอ่อนในเด็ก
8 .ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกน่วม
9. ช่วยป้องกันภาวะกระดูกพรุน และกระดูกเสื่อม
10. ช่วยป้องกันอาการกระดูกหักง่ายในวัยสูงอายุ
 
ขอขอบคุณ ข้อมูลจาก
โรงพยาบาลกรุงเทพคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
 
UNC Calcium